วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2556

แบบจำลองการพัฒนาหลักสูตร และการออกแบบหลักสูตรจุดประสงค์การเรียนรู้



รูปเเบบ SU  MODEL


องค์ประกอบหลักสำคํญของการจัดหลักสูตรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน มี อยู่ 3 ด้านคือ 1.Learner (ผู้เรียน) 2. Knowledge (ความรู้ สิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต) 3. Society โดยทั้งสามด้านนั้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้เลย สร้างเป็นรูปสามเหลี่ยมการเรียนรู้
การออกแบบหลักสูตรเป็น 3 ประเภทได้แก่
การออกแบบหลักสูตรที่ เน้นผู้ เรียนเป็นสําคัญ ลักษณะการจัดโครงสร้างหลักสูตรเป็นรายวิชา  เช่น   วิชาภูมิ ศาสตร์ประวัติศาสตร์  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  และภาษาไทย  เป็นต้น 
การออกแบบหลักสูตรที่ เน้นผู้ เรียนเป็นสําคัญ(learner– centered designs)

 เป็นหลักสูตรที่มองถึงประโยชน์ของผู้ เรียนเป็นสําคัญคํานึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียนโดยหลีกเลี่ ยงหลักสูตรที่ เน้นเนื้ อหาวิชาเป็นตัวตั้ง   การออกแบบหลักสูตรที่ เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญจัดได้หลายประเภท ดังนี้
1. หลักสูตรเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ (child – centered designs)) เด็กควรจะได้ศึ กษาถึงธรรมชาติ ที่อยู่ แวดล้อมตั วซึ่งสอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของเขาการจัดเนื้อหาของหลักสูตรแบบนี้ จะมีการบูรณาการเนื้ อหาของวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกันโดยเน้นไปที่ ประสบการณ์  หรือปัญหาสังคม  ความจําป็นของชีวิต  ทักษะชีวิต  การปรับตัว  และประสบการณ์ตรงของผู้เรียน

2. หลักสูตรเน้นประสบการณ์ (experience – centered designs)) เน้นการเรียนรู้ด้วยการปฏิ บั ติของผู้เรียน  กิจกรรมและประสบการณ์ต่าง ๆ ควรจัดขึ้ นตามความสนใจ  และความต้องการของผู้ เรียน  จึงจะทําให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้   เกิดการเปลี่ ยนแปลงพฤติกรรมอันจะนําไปสู่การเรียนรู้ และประสบการณ์อื่น  ๆ

3. หลักสูตรแบบจิตนิยม (romantic /radical designs)เน้นความเป็นธรรมชาติของผู้ เรียนให้ความสําคัญของบุคคลแต่ละคนว่าทุกคนมี อิสระในการเลือก สามารถกําหนดชีวิตของตนเองได้เน้นความมีเสรีภาพอันสมบูรณ์และความเป็นเอกัตบุคคลของ แต่ละคน หลักสูตรควรช่วยให้ผู้ เรียนสามารถปรับตัว ตัดสินใจกระทําสิ่ งต่าง ๆ ได้ กล้ายอมรั บในสิ่ งที่ ตนทํา  ตลอดจนสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้ นได้

4. หลักสูตรมนุษยนิยม (humanistic designs)เน้นด้านจิตใจ ความเป็นเอกัตบุคคล การพัฒนามโนทัศน์ของตนเองการรู้จั กตนเอง การควบคุมการเรียนรู้ และพฤติกรรมด้วยตนเอง การรู้จักเห็นใจผู้ อื่น นับถือตนเองและผู้อื่นเน้นการพัฒนาจิตพิสัย  ควบคู่ ไปกับพุทธิ พิ สั ย  หลักสูตรจะเพิ่ มทางเลือกให้ผู้ เรียนได้มี

แต่หากสามเหลี่ยมการเรียนรู้อยู่ในรูปลักษณะนี้คือเน้นที่ ความรู้ เป็นหลกปรัชญาแบบ Parennialism หรือ หรือกลุ่มนิรันตรนิยม เน้นให้ผู้เรียนมีความรู้มุ่งเน้นที่จะสอนความรู้ที่ได้รับการยกย่องว่า เป็นสัจนิรันกาล ฝึกการคิดวิเคราะห์แต่ต้องคนดีด้วย


การออกแบบหลักสูตรที่ เน้นเนื้ อหาวิชา(subject – centered designs) เป็นหลักสูตรที่เน้นความสําคัญของเนื้ อหาวิชา  การออกแบบหลักสูตรได้รั บอิทธิพลจากปรัชญาการศึกษา  คื อสารัตถะนิยม(essentialism) และ  นิ รันตรนิยม(perennialism)
จากภาพนั้น แสดงให้เห็นถึงความรู้ที่เด็กได้รับนั้นโดยความรู้ที่เด็กได้เรียนเป็นความรู้ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตประจำวันตามปรัชญา สารัจถะนิยม (essentialism)เด็กสามารถนำความรู้ที่เรียนไปประยุกต์ใช้เพื่อให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข กลุ่มนี้จะเน้นที่ความรู้
แบ่งออกเป็น 4 แบบ
1.             หลักสูตรแบบรายวิชา(subject design)ลักษณะการจัดโครงสร้างหลักสูตรเป็นรายวิชา  เช่น   วิชาภูมิ ศาสตร์ประวัติศาสตร์  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  และภาษาไทย  เป็นต้นเป็นหลักสูตรที่ สามารถกําหนดขอบเขตเนื้ อหาในรายวิชานั้ นได้อย่างชัดเจน  ครูมีความคุ้นเคยกับหลักสูตรนี้   จึงสามารถสอนในรายวิชาที่ ตนมีความชํานาญ การบริหารจัดการหลักสูตรทําได้สะดวกไม่ยุ่งยาก ตลอดจนผู้ เรียนได้ความรู้อย่างสมบูรณ์

2.             หลักสูตรแบบสาขาวิชา(discipline design)การออกแบบหลักสูตรมีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรรายวิชาแต่จะแตกต่างกันที่ หลักสูตรแบบสาขาวิชาจะมี จุดเน้นลุ่มลึกไปในศาสตร์ของแต่ละสาขา  เช่น   สาขาประวัติ ศาสตร์  หลักสูตรจะกําหนดให้ผู้ เรียนเรียนกระบวนการทางประวัติ ศาสตร์การเรียนการสอนจะมุ้งเน้นความคิดรวบยอด  โครงสร้างเนื้ อหา  และกระบวนการ

3.             หลักสูตรหมวดวิชา(broad fields design)นําวิชาที่มี เนื้ อหาสัมพันธ์กัน   มาจัดเข้าไว้ในหมวดวิชาเดียวกัน  เช่น   ภูมิศาสตร์  ประวัติ ศาสตร์  หน้าที่ พลเมือง  ศีลธรรม  รวมอยู่ ในหมวดสังคมศึกษาชีววิทยา ฟิสิกส์ เคมี รวมป็นหมวดวิทยาศาสตร์ เป็นต้นผู้สอนมีการวางแผนการสอนร่วมกัน  กิจกรรมการเรียนการสอนจัดได้กว้างขวางมากขึ้น

4.             หลักสูตรสัมพันธ์วิ ชา(correlation design)เน้นความสัมพันธ์ของเนื้อหาวิชาที่ทําให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดีและนําไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการเรียนเป็นรายวิชา

5.             หลักสูตรเน้นกระบวนการ(process design)เน้นกระบวนการหรือทักษะกระบวนการการเรียนการสอนที่ เน้นกระบวนการ จะทําให้ผู้ เรียนสามารถนํากระบวนการนั้ นไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจําวันของเขาได้



การออกแบบหลักสูตรที่ เน้นปัญหาสังคมเป็นสําคัญ
สามเหลี่ยมรูปนี้เน้นที่ สังคมหรือ Society สามเหลี่ยมในรูปนี้เป็นแนวปรัชญา Reconstructionism  หมายถึงการึกษาไม่ได้เป็นเรื่องของผู้คนแต่เป็นเรื่องของส่วนรวมที่มีจุดมุ่งหมายอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข การออกแบบหลักสูตรที่เน้นปัญหาสังคมเป็นสําคัญ(problem – centered designs) เป็นการออกแบบหลักสูตรที่ยึ ดเอาภาระหน้าที่   หรือชีวิตภายในสังคม  สถานการณ์ในสังคมเป็นหลัก เป็นหลักสูตรที่ เน้นสภาพของสังคม  หรือปัญหาของสังคมเป็นตัวตั้ งในการจัดทําหลักสูตร
โดยต้องมีการวิเคราะห์สภาพและความต้องการของชุมชนท้องถิ่นการออกแบบหลักสูตรจัดได้

                โดยรูปสามเหลี่ยมจะแบ่งออกเป็น 4 รูป ตามหลักทฤษฎีของไทเลอร์ คือ
1. Planning จุดประสงค์ทางการศึกษา การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
2. Design    การออกแบบการเรียนรู้ตามลักษณะของผู้เรียน
3. Organization การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
4. Evaluationจะประเมินผลได้อย่างไรว่า การจัดประสบการณ์การเรียนรู้มีประสิทธิผล?
การออกแบบหลักสูตรนั้นเพื่อเราจะทำให้หลักสูตรเป็น World Class Education เราจำเป็นต้องคำนึงถึง
·         หลัก 7 ประการในการออกแบบหลักสูตร (7 principles of curriculum design)
1.        Challenge and enjoyment (ค้นหาศักยภาพและความสุข)
2.        Breadths (ความกว้าง) คือ หลักสูตรที่ดีต้องเปิดกว้างในการเรียนรู้
3.        Progressions (ความก้าวหน้า) คือ หลักสูตรต้องออกแบบมาให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา
4.        Depths (ความลึกซึ้ง) คือ หลักสูตรต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้อย่างลึกซึ้ง
5.        Coherence (ความเกี่ยวข้อง) คือ หลักสูตรที่ดีต้องมีเนื้อหาและจุดประสงค์ที่สนองกับบริบทที่จะนำหลักสูตรไปใช้
6.        Relevance (ความสัมพันธ์กัน) คือ เนื้อหาในหลักสูตรต้องมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับจุดประสงค์
7.        Personalization and choice (ความเป็นเอกลักษณ์และตัวเลือก) คือ หลักสูตรที่ดีต้องให้นักเรียนได้ค้นพบเอกลักษณ์ของตนเอง
·         ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (3Rs+7Cs)
3 R  คือ      Reading (อ่านออก)   Writing (เขียนได้)   Arithmetic (คิดเลขเป็น)
7 C คือ
1.        Critical Thinking & Problem solving  คือ ทักษะในการคิดวิเคราะห์
2.        Creativity & Innovation คือ ทักษะที่เมื่อคุณคิดวิเคราะห์แล้ว
3.        Cross-Cultural understanding คือ ทักษะที่เน้นความเข้าใจในกลุ่มคนในสังคมโลก
4.        Collaboration Teamwork & leadership คือ ทักษะการทำงานเป็นทีม
5.        Communication information and media literacy  คือ ความสามารถในการสื่อสาร
6.        ICT literacy  คือ ความสามารถใช้เครื่องเทคโนโลยี
7.        Career and Life skill คือ ทักษะการใช้ชีวิต คือทักษะการประกอบอาชีพ
·         สี่เสาหลักของการศึกษา (The four Pillars of Education)
1.        การเรียนเพื่อรู้  (Learning to Know)
2.        การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง  (Learning to Do)
3.        การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกัน  (Learning to Live Together)
4.        การเรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning to Be)

อ้างอิงจาก kruamm.files.wordpress.com









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น